postheadericon แหล่งเรียนรู้

 

แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

นับตั้งแต่ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๓ โรงเรียนมีการพัฒนามาโดยตลอด ปัจจุบันโรงเรียนมีอาคารเรียนถาวร ๓ หลัง อาคารประกอบ ๒ หลัง รวมจำนวนห้องเรียนทั้งหมด ๑๔ ห้อง ห้องปฏิบัติการ ๔ ห้อง ห้องปฏิบัติการพิเศษต่าง ๆ ๑๒ ห้อง ได้แก่ ห้อง……ห้องประชุมสารสนเทศ …ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์..ห้องปฏิบัติการเพื่อการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ห้องศูนย์สาระภาษาไทย สังคมฯ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ พลศึกษา ดนตรี

ห้องสมุดมีขนาด..๑๙๒…ตารางเมตร(คิดเป็นประมาณ ๓…ห้องเรียน) มีหนังสือทั้งหมด ...๔,๑๗๖..เล่ม จำแนกเป็น…๑๑....ประเภท สถิติการใช้ห้องสมุดของนักเรียน สูงสุด ๘๖ คน เมื่อ ธันวาคม ๒๕๕๕…คิดเป็นร้อยละ…๓๔.๙๖..ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด ต่ำสุด เมื่อคิดเป็นร้อยละ……ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด

จำนวนหนังสือ

หมวด

ประเภท

จำนวน(เล่ม)

หมายเหตุ

๐๐๐

สารวิทยา

๒๖๐

 

๑๐๐

ปรัชญา

๑๔๒

 

๒๐๐

ศาสนา

๑๓๐

 

๓๐๐

สังคมศาสตร์

๒๕๖

 

๔๐๐

ภาษา

๔๒๒

 

๕๐๐

วิทยาศาสตร์

๒๗๐

 

๖๐๐

เทคโนโลยี

๔๗๓

 

๗๐๐

ศิลปกรรม

๓๑๐

 

๘๐๐

วรรณคดี

๒๘๕

 

๙๐๐

ภูมิศาสตร์

๔๑๘

 

นวนิยาย

 

๒๒๓

 

อ้างอิง

 

๙๘๗

 

รวมทั้งหมด

๔,๗๑๖

 

 

โรงเรียนมีการติดตั้งอินเตอร์เน็ตเพื่อการค้นคว้าของนักเรียน จำนวน……๕๐…เครื่อง มีนักเรียนมาใช้บริการอินเตอร์เน็ต…๕๐…คน ต่อวัน และโรงเรียนมีคอมพิวเตอร์ใช้ในการเรียนการสอน…๕๐…เครื่อง คิดเป็นสัดส่วนจำนวนนักเรียนต่อเครื่อง เท่ากับ ๑ เครื่อง ต่อนักเรียน…๑….คน


นอกจากห้องสมุดแล้ว โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ภายใน และภายนอกโรงเรียน ดังนี้

 

แหล่งเรียนรู้ภายใน

สถิติการใช้

จำนวนครั้ง/ปี

แหล่งเรียนรู้ภายนอก

สถิติการใช้

จำนวนครั้ง/ปี

ชื่อแหล่งเรียนรู้

ชื่อแหล่งเรียนรู้

๑. ห้องสมุดกลางโรงเรียนภูพานวิทยา

๒. ห้องศูนย์สาระฯภาษาไทย

๓. ห้องศูนย์สาระฯวิทยาศาสตร์

๔. ห้องศูนย์สาระฯคณิตศาสตร์

๕. ห้องศูนย์สาระฯภาษาต่างประเทศ

๖. ห้องศูนย์สาระฯศิลปศึกษา

๗. ห้องศูนย์สาระฯสังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม

๘. ห้องศูนย์สาระฯการงานอาชีพและเทคโนโลยี

๙. ห้องศูนย์สาระฯสุข-พลศึกษา

๑๐.ห้องคอมพิวเตอร์๑,๒

 

 

 

 

 

 

 

๑,๒๑๒

๓๐

๒๔

๒๖

๓๐

๓๐

๓๐

๓๐

๒๐

๗๒๐

 

. แหล่งเรียนรู้ประเภทวัด

๑.๑ วัดแก้วสว่าง บ้านหนองกุง-หนองเจริญ ต.ขอนยูง อ.กุดจับ จ.อุดรธานี

๑.๒ วัดเจริญศรัทธาสามัคคี บ้านหนองเม็ก ต.ขอนยูง อ.กุดจับ จ.อุดรธานี

๑.๓ วัดถ้ำพระ บ้านทุ่งตาลเลียน ต.ตาลเลียน อ.กุดจับ จ.อุดรธานี

. แหล่งเรียนรู้ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น

๒.๑ นายธราพงษ์ สีลาวงค์ นักการเมือง การเมืองและเศรษฐศาสตร์

๒.๒ นายปรเมศ สิงสาร์ เกษตรกรรม ทำไม้กวาด

๒.๓ นายเฉลิม นาคสุข เกษตรกรรม การทำสวนลำใย การปลูกยางพารา

๒.๔ นายประมุข สุดชาหา เกษตรกรรม การปลูกยางพารา

๒.๕ นายสุทธินันท์ หันตุลา เกษตรกรรม การทำพลุ-ตะไล

๒.๖ นายเสวย ไชยมาตย์ เกษตรกรรม การทำศาลาพักผ่อน

๒.๗ นางทองใหม่ สร้อยสังวาลย์ เกษตรกรรม การทอเสื่อ

๒.๘ นางเสาร์ อรุณศรี เกษตรกรรม การย้อมผ้าสีธรรมชาติ

๒.๙ นางสวี สีสำนาน เกษตรกรรม การเพาะเห็ดฟาง

๒.๑๐ นางวิลัย นามมนตรี เกษตรกรรม การเลี้ยงปลาดุก

๒.๑๑ นางสุวรรณี ชมภูแดง เกษตรกรรม การเลี้ยงไหม การทอผ้าไหม

๒.๑๒ นางบุ้น พูลพรม เกษตรกรรม การอบถั่วลิสงด้วยสมุนไพร

๒.๑๓ นางมะลิวัลย์ บุญวิเทียน ข้าราชการ การเลี้ยงโค

๒.๑๔ นายสำราญ อกอุ่น เกษตรกรรม การทำบั้งไฟ

 

 

แหล่งเรียนรู้ภายใน

สถิติการใช้

จำนวนครั้ง/ปี

แหล่งเรียนรู้ภายนอก

สถิติการใช้

จำนวนครั้ง/ปี

ชื่อแหล่งเรียนรู้

ชื่อแหล่งเรียนรู้

 

 

. แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ

๓.๑ แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ภาพเขียนสีประวัติศาสตร์ถ้ำสิงห์

๓.๒ กลุ่มทอผ้าพื้นบ้านโดยวิธีธรรมชาติ บ้านชัยคำเจริญ ต.ขอนยูง อ.กุดจับ จ.อุดรธานี

๓.๓ สถานีอาหารสัตว์กุดจับ ต.เมืองเพีย อ.กุดจับ จ.อุดรธานี

๓.๔ ศูนย์เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จังหวัดอุดรธานี

๓.๕ ศูนย์เพาะเลี้ยงหม่อนไหม นอคมสร้างตนเองห้วยหลวง ต.กุดจับ อ.กุดจับ จ.อุดรธานี

๓.๖ เขื่อนห้วยหลวง จังหวัดอุดรธานี

๓.๗ ห้องสมุดประชาชนอำเภอกุดจับ ต.เมืองเพีย อ.กุดจับ จ.อุดรธานี


 

 

ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นักเรียนในปีการศึกษา๒๕๕๕ นางจูมจี คงสมบัติ ด้านการสวดสรภัญญ